นักเขียนโปรแกรม
หรือ โปรแกรมเมอร์ (อังกฤษ: programmer)
มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมสามารถหมายถึงผู้ที่เชี่ยวชาญในการโปรแกรมเฉพาะด้าน หรือผู้ที่สามารถเขียนรหัสซอฟต์แวร์ได้หลากหลาย
หรือ โปรแกรมเมอร์ (อังกฤษ: programmer)
มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมสามารถหมายถึงผู้ที่เชี่ยวชาญในการโปรแกรมเฉพาะด้าน หรือผู้ที่สามารถเขียนรหัสซอฟต์แวร์ได้หลากหลาย
เอดา ไบรอนได้ชื่อว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก เพราะเป็นคนแรกที่สามารถนำขั้นตอนวิธี มาเรียบเรียงเป็นชุดคำสั่ง ให้แก่เครื่องคำนวณได้ในปี พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) ในยุคที่ยังไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์
ประเภทของซอฟแวร์
1. OS Software เป็นซอฟแวร์ระบบปฏิบัติการ เมื่อเราเปิดเครื่องขึ้นมาก็จะเจอ เช่น Microsoft Windows เป็นต้น
2. Application Software เป็นซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่เขียนมาใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น โปรแกรม Microsoft Office ใช้สำหรับงานด้านเอกสาร, โปรแกรม Adobe Photoshop ใช้ตกแต่งรูปภาพ เป็นต้น
3. Program Software เป็นซอฟต์แวร์ที่โปรแกรมเมอร์เขียนขึ้นมาใช้งานเฉพาะทางให้เหมาะสมกับงานที่เราใช้อยู่ เช่น โปรแกรมบัญชี, โปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์, โปรแกรมใช้งานด้านอินเตอร์เน็ต, โปรแกรมใช้งานกับมือถือ เป็นต้น ซึ่งอาจจะเขียนด้วยโปรแกรมภาษาซี, โปรแกรมแอสแซมบี้, โปรแกรมวิชวลสตูดิโอ และยังมีอีกหลายโปรแกรมที่ใช้สร้างได้
ถ้าเป็นโปรเจ็คใหญ่ จะมีนักวิเคราะห์ออกแบบระบบจะกำหนดโครงสร้างไว้ แล้วแบ่งให้โปรแกรมเมอร์เขียนในแต่ส่วน ซึ่งเมื่อเขียนเสร็จก็จะมีการนำมาทดลองใช้ มีข้อผิดพลาดตรงจุดไหน ถ้ามีก็จะนำกลับไปแก้ไข แล้วมาทดสอบใหย่
อีกหน้าที่ของโปรแกรมเมอร์ จะคอยดูแลลูกค้าที่นำไปใช้ จะมีการไปติดตั้ง แนะนำการใช้ เมื่อโปรแกรมมีปัญหาจะคอยมาแก้ไขให้ จะมีค่าใช้จ่ายหรือไม่ ก็อยู่ที่ข้อตกลงกัน
1. OS Software เป็นซอฟแวร์ระบบปฏิบัติการ เมื่อเราเปิดเครื่องขึ้นมาก็จะเจอ เช่น Microsoft Windows เป็นต้น
2. Application Software เป็นซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่เขียนมาใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น โปรแกรม Microsoft Office ใช้สำหรับงานด้านเอกสาร, โปรแกรม Adobe Photoshop ใช้ตกแต่งรูปภาพ เป็นต้น
3. Program Software เป็นซอฟต์แวร์ที่โปรแกรมเมอร์เขียนขึ้นมาใช้งานเฉพาะทางให้เหมาะสมกับงานที่เราใช้อยู่ เช่น โปรแกรมบัญชี, โปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์, โปรแกรมใช้งานด้านอินเตอร์เน็ต, โปรแกรมใช้งานกับมือถือ เป็นต้น ซึ่งอาจจะเขียนด้วยโปรแกรมภาษาซี, โปรแกรมแอสแซมบี้, โปรแกรมวิชวลสตูดิโอ และยังมีอีกหลายโปรแกรมที่ใช้สร้างได้
ถ้าเป็นโปรเจ็คใหญ่ จะมีนักวิเคราะห์ออกแบบระบบจะกำหนดโครงสร้างไว้ แล้วแบ่งให้โปรแกรมเมอร์เขียนในแต่ส่วน ซึ่งเมื่อเขียนเสร็จก็จะมีการนำมาทดลองใช้ มีข้อผิดพลาดตรงจุดไหน ถ้ามีก็จะนำกลับไปแก้ไข แล้วมาทดสอบใหย่
อีกหน้าที่ของโปรแกรมเมอร์ จะคอยดูแลลูกค้าที่นำไปใช้ จะมีการไปติดตั้ง แนะนำการใช้ เมื่อโปรแกรมมีปัญหาจะคอยมาแก้ไขให้ จะมีค่าใช้จ่ายหรือไม่ ก็อยู่ที่ข้อตกลงกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น